การศึกษา
สภาพที่แท้จริงของเรือนจำในญี่ปุ่นและระบบของ “สถานพินิจและคุ้มครองเยาวชนนารา”
ในบรรดาเยาวชนผู้กระทำผิดก่อคดีอาชญากรรม เยาวชนชายที่อัยการหรือศาลเห็นสมควรว่าควรจะส่งไปคุมขังจะได้รับการส่งตัวมาที่สถานพินิจและคุ้มครองเยาวชน หนึ่งในสาเหตุเบื้องหลังที่ทำให้มือเยาวชนชายเหล่านี้ต้องแปดเปื้อนคือจิตใจที่ไม่มั่นคงกังวลในเรื่องการใช้ชีวิตและหน้าที่การงานนั่นเอง ตั้งแต่ค.ศ.1946 เป็นต้นมา เรือนจำเก่านาราได้กลายเป็น “สถานพินิจฯนารา” ซึ่งทำหน้าที่สำคัญในการ “ดัดนิสัย” เยาวชนที่มีมาแต่เดิม แม้ภายหลังสถานพินิจฯนาราได้ปิดตัวลง ก็ยังมีมีส่วนในการจัดวางระบบต่างๆ เพื่อช่วยให้เยาวชนสามารถกลับคืนสู่สังคมรวมทั้งป้องกันไม่ให้กระทำความผิดซ้ำซ้อนขึ้นอีกหลังออกจากสถานพินิจฯไปแล้ว
สถิติต่างๆ
ของเรือนจำเก่านารา*ข้อมูล ณ เดือนเมษายน ค.ศ.2018 ค่าสถิติตัวเลขเป็นค่าโดยประมาณ
จำนวนสถานพินิจฯในประเทศญี่ปุ่น
จำนวนผู้กระทำผิดที่สถานพินิจฯสามารถรองรับได้ทั้งหมด
อัตราการกระทำผิดซ้ำซ้อนระหว่างผู้มีอาชีพกับผู้ตกงาน
*เปรียบเทียบอัตราการกระทำผิดซ้ำซ้อนในช่วงติดตามให้คุ้มครอง
*ผู้ตกงานมีอัตราการกระทำผิดซ้ำซ้อนมากกว่าผู้มีอาชีพเกือบ 4 เท่า
*ผู้ตกงานมีอัตราการกระทำผิดซ้ำซ้อนมากกว่าผู้มีอาชีพเกือบ 4 เท่า
จำนวนผู้กระทำผิดที่สถานพินิจฯนาราสามารถรองรับได้
จำนวนเจ้าหน้าที่ของสถานพินิจฯนารา
ความกว้างของพื้นที่สถานพินิจฯนารา
*106,307 ตร.ม. เท่ากับสนามฟุตบอล 15 สนาม
ผู้จบการศึกษาจากหลักสูตรอบรมอาชีพ
จำนวนผู้ใช้งาน “ห้องตัดแต่งทรงผมวะกะคุตสะ”
*ยอดรวมผู้ใช้งานที่เป็นชาวบ้านผู้อยู่อาศัยในพื้นที่กับพนักงาน
นักเรียนที่สำเร็จการศึกษามัธยมปลายทางไกล
*สิ้นสุด